เว็บไซต์นี้เป็นเวอร์ชั่น Demo เท่านั้น หน้าหลัก

บริการวิชาการ

คลิกที่รายการ เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติม

รายละเอียด

เชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจ เช่น ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (โรคโควิด-19) มีการแพร่กระจายโดยอาศัยเสมหะ น้ำมูลและละอองฝอย เป็นสื่อกลางในการเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์ผ่านทางดวงตา จมูก หรือปาก โดยผ่านการสัมผัสจากมือของเราจากคนหนึ่งไปยังอีกคน ซึ่งในช่วงเวลาของการแพร่ระบาดทั่วโลกนี้ วิธีการในการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ง่ายที่สุด และที่สำคัญคือมีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ก็คือการล้างมือเป็นประจำด้วยสบู่และน้ำ ซึ่งในการบริการวิชาการครั้งนี้ ทางหลักสูตรมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชนชนหรือผู้ที่สนใจได้รู้ถึงวิธีการตั้งตำรับหรือวิธีการทำสบู่เหลวล้างมือ โดยใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเป็นส่วนผสม นำมาซึ่งการยกระดับอาชีพในชุมชนในอนาคตได้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนใต้นับถือศาสนาอิสลาม จึงมีความกังวลในเรื่องส่วนผสมหรือองค์ประกอบที่นำมาใช้ว่าถูกหลักศาสนาหรือไม่ ทางหลักสูตรจึงมีการเสริมองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับฮาลาลในเครื่องสำอาง เพื่อเพิ่มความเข้าใจและสามารถนำความรู้ที่ได้นี้ไปประยุกต์ใช้ในครัวเรือนได้

กลุ่มเป้าหมาย

ประชาชนทั่วไปในพื้นที่

สถานที่ อบรมออนไลน์

วันที่ดำเนินการ 28-31 พฤษภาคม 2563

รายละเอียด

โดยทั่วไปสบู่เป็นผลิตภัณฑ์ที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้ในการฟอกทำความสะอาดผิว องค์ประกอบที่อยู่ในสบู่เหลวประกอบไปด้วย 1. ไขมันและน้ำมันจากพืชหรือสัตว์ เช่น น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว 2. ด่าง (alkali) เป็นตัวทำปฏิกิริยากับกรดไขมันและส่วนประกอบอื่นๆ ทำให้สารลดแรงตึงผิวและสารลดความกระด้างของน้ำทำงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ที่นิยมใช้มี 2 ชนิด คือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ และโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 3. สารลดความกระด้างของน้ำ (builders) ใช้ลดความกระด้างของน้ำ เพื่อเพิ่มความสามารถในการทำความสะอาดและป้องกันการเสื่อมของผลิตภัณฑ์ เช่น สี กลิ่น เป็นต้น 4. สารลดแรงตึงผิวสังเคราะห์ (synthic surfactants) 5.สารปรับสภาพ (conditioners) เพื่อให้ผิวเกิดความชุ่มชื้นและเกิดความระคายเคืองต่อผิวน้อยลง 6. สี ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมายเครื่องสำอาง 7. น้ำหอม (fragrances) ทำหน้าที่ปกปิดกลิ่นของส่วนประกอบต่าง ๆ และให้กลิ่น 8.วัตถุกันเสีย เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพของสบู่ และ 9. สารต้านจุลินทรีย์ (antimicrobial agents) ทำหน้าที่ฆ่าและยับยั้งการ เจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดเชื้อโรคและกลิ่น เชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจ เช่น ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (โรคโควิด-19) มีการแพร่กระจายโดยอาศัยเสมหะ น้ำมูลและละอองฝอย เป็นสื่อกลางในการเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์ผ่านทางดวงตา จมูก หรือปาก โดยผ่านการสัมผัสจากมือของเราจากคนหนึ่งไปยังอีกคน ซึ่งในช่วงเวลาของการแพร่ระบาดทั่วโลกนี้ วิธีการในการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ง่ายที่สุด และที่สำคัญคือมีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ก็คือการล้างมือเป็นประจำด้วยสบู่และน้ำ ซึ่งในการบริการวิชาการครั้งนี้ ทางหลักสูตรมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชนชนหรือผู้ที่สนใจได้รู้ถึงวิธีการตั้งตำรับหรือวิธีการทำสบู่เหลวล้างมือ โดยใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเป็นส่วนผสม นำมาซึ่งการยกระดับอาชีพในชุมชนในอนาคตได้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนใต้นับถือศาสนาอิสลาม จึงมีความกังวลในเรื่องส่วนผสมหรือองค์ประกอบที่นำมาใช้ว่าถูกหลักศาสนาหรือไม่ ทางหลักสูตรจึงมีการเสริมองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับฮาลาลในเครื่องสำอาง เพื่อเพิ่มความเข้าใจและสามารถนำความรู้ที่ได้นี้ไปประยุกต์ใช้ในครัวเรือนได้

กลุ่มเป้าหมาย

ประชาชนทั่วไปในพื้นที่

สถานที่ โรงเรียนชุมชนบานยูโย

วันที่ดำเนินการ 29 มิถุนายน 2563

รายละเอียด

โครงการพัฒนาห้องเรียนพิเศษ SMP ในพื้นที่เครือข่ายจังหวัดยะลา

กลุ่มเป้าหมาย

นักเรียน  ครู  ผู้ปกครอง  ในจังหวัดยะลา

สถานที่ พื้นที่จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ ปีงบประมาณ 2559-2563

รายละเอียด

โครงการพัฒนาห้องเรียนพิเศษ SMP ในพื้นที่เครือข่ายจังหวัดยะลา

กลุ่มเป้าหมาย

นักเรียน  ครู  ผู้ปกครอง  ในจังหวัดยะลา

สถานที่ พื้นที่จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ ปีงบประมาณ 2559-2563

รายละเอียด

วัตถุประสงค์เพื่อให้ประชนชนหรือผู้ที่สนใจได้รู้ถึงวิธีการตั้งตำรับหรือวิธีการทำสบู่เหลวล้างมือ โดยใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเป็นส่วนผสม นำมาซึ่งการยกระดับอาชีพในชุมชนในอนาคตได้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนใต้นับถือศาสนาอิสลาม จึงมีความกังวลในเรื่องส่วนผสมหรือองค์ประกอบที่นำมาใช้ว่าถูกหลักศาสนาหรือไม่ ทางหลักสูตรจึงมีการเสริมองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับฮาลาลในเครื่องสำอาง เพื่อเพิ่มความเข้าใจและสามารถนำความรู้ที่ได้นี้ไปประยุกต์ใช้ในครัวเรือนได้

กลุ่มเป้าหมาย

นักเรียนและผู้ที่สนใจจำนวน  75  คน

สถานที่ โรงเรียนสุขสวัสดิ์วิทยา

วันที่ดำเนินการ 8 กุมภาพันธ์ 2564

รายละเอียด

สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป การแข่งขันเพื่อการประกอบอาชีพในด้านต่างๆ ทำให้ผู้คนปัจจุบันจำนวนมาก จึงต้องตกอยู่ในความเครียดและเมื่อสะสมนานๆ เข้าก็จะส่งผลให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บขึ้นมา เช่น อาการนอนไม่หลับ ปวดศีรษะ ปวดท้อง ระบบการย่อยอาหารไม่ดี โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และอื่นๆ อีกมากมาย อาการเหล่านี้ไม่มีทางรักษาให้หายได้ หากไม่แก้ที่ต้นเหตุซึ่งก็คือการผ่อนคลายไม่ให้ตัวเองต้องตกอยู่ในภาวะความเครียด การทำจิตใจให้แจ่มใส การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ “อโรมาเทอราปี (Aromatherapy)" หรือที่เรียกกันในภาษาไทยว่า "สุคนธบำบัด" มีรากฐานมาจากคำสองคำคือ คำว่า "อโรมา หรือสุคนธา (Aroma)" ซึ่งแปลว่า "กลิ่นหอม" และมาจากคำว่า "เทอราปี (Therapy)" แปลว่า "การบำบัดรักษา" และเมื่อนำคำสองคำมารวมกันจึงมีความหมายว่า "การบำบัดรักษาเพื่อให้บรรเทาหรือทุเลาอาการต่าง ๆ ด้วยเครื่องหอม" การนำน้ำมันหอมระเหยมาใช้ในการบำบัดรักษาโรคภัยไข้เจ็บเหล่านี้ หรือที่เรียกกันว่า "อโรมาเทอราปี" การนำน้ำมันหอมระเหยมาใช้ในการบำบัดรักษาโรคภัยไข้เจ็บเหล่านี้ หรือที่เรียกกันว่า "อโรมาเทอราปี" การนำน้ำมันหอมระเหยมาใช้ในการบำบัดรักษาโรคภัยไข้เจ็บเหล่านี้ หรือที่เรียกกันว่า "อโรมาเทอราปี" ซึ่งในการบริการวิชาการครั้งนี้ ทางหลักสูตรมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชนชนหรือผู้ที่สนใจได้รู้ถึงวิธีการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชที่ตนสนใจ เพื่อนำมาทำเป็นน้ำหอมแห้ง ใช้ในการบำบัดอาการเครียดอันเกิดจากสถานการณ์ปัจจุบันนี้ได้ ทั้งนี้ ประชนชนยังสามารถนำพืชสมุนไพร ไม้ดอกที่มีกลิ่นหอมนำมาแปรรูปในลักษณะน้ำมันหอมระเหยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางการตลาด และขยายช่องทางการขายเพิ่มมากขึ้นได้อีกด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

ประชาชนที่สนใจในพื้นที่  อำเภอเมืองยะลา  จังหวัดยะลา  จำนวน  20  คน

สถานที่ กลุ่มแม่บ้านหมู่ 2, 12 ต.สะเตงนอก

วันที่ดำเนินการ 24 กุมภาพันธ์ 2565

รายละเอียด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มวิสาหกิจ  ผู้เลี้ยงแพะ

สถานที่ ฟาร์มแพะการิม

วันที่ดำเนินการ 31 มกราคม 2565

รายละเอียด

กลุ่มเป้าหมาย

ประชาชนที่สนใจ

สถานที่ บักกะะห์แลนด์

วันที่ดำเนินการ 18-20 กรกฎาคม 2565

รายละเอียด

กลุ่มเป้าหมาย

นักเรียนและเยาวชน

สถานที่ โรงเรียนสัมพพันธ์วิทยา

วันที่ดำเนินการ 8 มีนาคม 2566

รายละเอียด

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากน้ำผึ้งชันโรง และการออกแบบบรรจุภัณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสบู่น้ำผึ้งชันโรงตราผึ้งจิ๋ว  ตำบลบุดี

สถานที่ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง

วันที่ดำเนินการ 26-28 สิงหาคม 2566