เว็บไซต์นี้เป็นเวอร์ชั่น Demo เท่านั้น หน้าหลัก

บริการวิชาการ

คลิกที่รายการ เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติม

รายละเอียด

กิจกรรมวิจัยทดลองและถ่ายทอดผลการวิจัย การสกัดสีพืชพื้นถิ่นย้อมสีใบเตยหนาว ไรสารเคมี 100% สร้างมูลค่าเพิ่มภายใต้แนวคิดผลิตภัณฑ์เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สู่การนำไปใช้ประโยชน์แก่กลุ่มจักสานจากเตยหนาว ชุมชน สะเตงนอก จ.ยะลา โดยบรูณาการศาสตร์สากลับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในการสร้างอาชีพ เพิ่มรายได้และกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชนฐานราก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มจักสานเตยหนาว

สถานที่ สะเตงนอก จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ 22 มิถุนายน 2562

รายละเอียด

กิจกรรมวิจัยทดลองและถ่ายทอดผลการวิจัย การสกัดสีพืชพื้นถิ่นย้อมสีใบเตยหนาว ไรสารเคมี 100% สร้างมูลค่าเพิ่มภายใต้แนวคิดผลิตภัณฑ์เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สู่การนำไปใช้ประโยชน์แก่กลุ่มจักสานจากเตยหนาว ชุมชน สะเตงนอก จ.ยะลา โดยบรูณาการศาสตร์สากลับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในการสร้างอาชีพ เพิ่มรายได้และกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชนฐานราก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มจักสานจากเตยหนามของกลุ่มสตรีและผู้สูงอายุ

สถานที่ สะเตงนอก จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ 2 มกราคม -15 กันยายน 2562

รายละเอียด

1. การบูรณาการการเรียนการสอนกับการวิจัยและการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม การบูรณาการรายวิชา การสื่อสารเพื่อการพัฒนาชายแดนใต้ รหัสวิชา 3101103 ในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561 โดยมีผู้สอนคือ ผู้ชวยศาสตราจารย์ ดร.นิชาวดี ตานีเห็ง โดยบูรณาการกับการวจัย เรื่อง การสร้างแบรนด์และการสื่อสารการตลาดผลิตภณฑ์จักสานเตยหนามสู่เชงพาณิชย์ภายใต้แนวคิดเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ชุมชนสะเตงนอก จังหวัดยะลา และบูรณาการกับการทานุบารุงศิลปวฒนธรรม กิจกรรม การผลิต สื่อประชาสัมพนธเพออนุรักษ์และสืบทอดภมิปัญญาท้องถิ่นจักสานจากเตยหนาม ณ หมู่ที่ 6 บ้านพงบูโล๊ะ ชุมชนพงบูโล๊ะ ตาบลสะเตงนอก อาเภอเมือง จังหวัดยะลา โดยนักศึกษาสามารถผลิตผลงานเป็นคลิปสื่อวดิโอ การอนุรักษ์และสืบสานผลิตภณฑ์ภมิปัญญาท้องถิ่นจากเตยหนาม ชมชนสะเตงนอก เผยแพร่ผ่านสื่อเฟส บุค 2. การบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ การบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชา การสื่อสารด้วยกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์และโครงการ สนับสนุน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โดยบูรณาการกับการบริการวิชาการ กิจกรรม การอบรม ปฏิบัติการการถ่ายภาพดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาะแลหนัง อาเภอเทพา จังหวัดสงขลา แก่เยาวชนใน พื้นที่ และบูรณาการกับการบริการวิชาการ กิจกรรม การระดมความคิดเห็นของเยาวชนในการมีส่วนร่วมการ ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาะแลหนง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

กลุ่มเป้าหมาย

ประชาชน  นักศึกษา  ผู้ประกอบการ

สถานที่ จังหวัดยะลา จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี

วันที่ดำเนินการ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562

รายละเอียด

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิชาวดี ตานีเห็ง อาจารย์ประจาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขา วิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์และสื่อดิจิทัล คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ในฐานะอาจารย์ผู้สอนรายวิชา การสื่อสารด้วยกิจกรรมเชิงสร้างสรรคและโครงการสนับสนุน แก่นักศึกษาชั้นปีท 3 สาขาวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์และสื่อดิจิทัลมหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา ได้แวะชมผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมDikota สกัดสีจากพืชพื้นถิ่นกว่า 10 ชนิด สวยมากๆค่ะ ด้วยแนวคิดGreen Product ค่ะ ในการจัดกิจกรรมของนักศึกษา(กลุ่มที่4/ชุมชนที่4) ทางาน โปรเจ็คเพื่อชุมชนอย่างต่อเนื่อง ฝึกปฏืบัติสร้างสรรค์นวัตกรรมสื่อดิจิทัลผ่านการสื่อ ความหมายจากภาพถ่ายเพื่อส่งเสริมการตลาดออนไลน์ผลิตภัณฑ์จากผ้ามัดย้อมDikota ณ บ้านเฆาะ ต.โกตาบารู อ.รามัน จ.ยะลา

กลุ่มเป้าหมาย

ประชุาชน  นักศึกษา

สถานที่ บ้านเฆาะ ต.โกตาบารู อ.รามัน จ.ยะลา

วันที่ดำเนินการ 11 มีค 2563

รายละเอียด

ผุ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิชาวดี ตานีเห็ง นักวิจัยคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยจัยาลัยราชภัฏยะลา ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์จักสานจากเตยหนามชุมชนสะเตงนอก จังหวัดยะลา เพื่อพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบใบเตยหนามด้วยเทคโนโลยีนาโนเคมีสะอาด เพื่อป้องกันเชื้อราบนผลิตภัณฑ์จกสานจากใบเตยหนาม และการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ประเภทกล่องบรรจุหมอนจักสานจากเตยหนาม เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ขยายตลาดจำหน่ายในประเทศและต่างประเทศ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มสตรีจักสานจากเตยหนาม  หมู่ที่  6  บ้านพงบูโละ  ตำบลสะเตงนอก  อำเภอเมือง  จังหวัดยะลา

สถานที่ หมู่ที่ 6 บ้านพงบูโละ ตำบลสะเตงนอก จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน 2563

รายละเอียด

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.เพื่อผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ คลิปวิดีโอเรื่องเล่า อัตลักษณ์พื้นถ่ินชายแดนใต้ นำเสนอแหล่งท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ชุมชน อาหารพื้นถิ่นในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้สื่อสารไปสู่สาธารณะ 2. การมีส่วนร่วมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและบุคลากรในการประชาสัมพันธ์คุณค่า ความหมาย อัตลักษณ์พื้นถิ่นชายแดนใต้สู่สังคม 3.สร้างเครือข่ายและภาพลักษณ์ที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคมของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คลังปัญญาแห่งชายแดนใต้เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

กลุ่มเป้าหมาย

นักศึกษาทุกสาขา  รวม  4  คณะของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

สถานที่ มหาวิทยาลัยราชภ้ฏยะลา

วันที่ดำเนินการ พฤศจิกายน 2563 ถึง เมษายน 2564(มอบรางวัล ตุลาคม 2564) ช่วงสถานการณ์โควิด

รายละเอียด

การจัดทำโครงการบริการวิชาการ ประเด็นการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยผู้ประสานงานประจำตำบลและอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ขับเคลื่อนการพัฒนาตำบลหน้าถ้ำ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา จัดโครงการพัฒนา 2 โครงการย่อยดังนี้ 1 โครงการพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มขนมลากรอบโบราณ 2. โครงการพัฒนามัคคุเทศก์และนักสื่อความหมายการท่องเที่ยวโดยชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

เยาวชน    กลุ่มสตรี  กลุ่มอาชีพ    กลุ่มมัคคุเทศน์  ผู้ประกอบการท่องเที่ยว  ผู้ว่างงานในชุมชน

สถานที่ ตำบลหน้าถ้ำ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ มกราคม ถึง ธันวาคม 2564