เว็บไซต์นี้เป็นเวอร์ชั่น Demo เท่านั้น หน้าหลัก

บริการวิชาการ

คลิกที่รายการ เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติม

รายละเอียด

การให้บริการวิชาการกลุ่มนมแพะเป็นกิจกรรมท่ีอยู่ภายใต้กิจกรรม “ต้นแบบการจัดการ ธุรกิจชุมชนตําบลท่าสาป” โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ประจําปงบประมาณ 2559 โดยการดําเนินงานได้เริ่มจากการเตรียมการสํารวจความต้องการของ ผู้รับบริการของหัวหน้าและสมาชิกกลุ่มนมแพะ จึงทําให้ได้มาซึ่งกิจกรรมย่อยในการดําเนินการ 3 กิจกรรมอบรม ได้แก่ 1) การให้การอบรมโดยวิทยากรภายในจากคณะวิทยาการจัดการ (ให้ความรู้ ตามศาสตร์การจัดการ) ซึ่งประกอบไปด้วย การอบรมเชิงปฏิบัติเรื่องการลงบันทึกบัญชีฟาร์มปศุสัตว์อย่างง่าย และการเขียนโครงการเพื่อขอสนับสนนุ 2) การให้การอบรมโดยวิทยากรภายนอก (วิทยากร จากปศุสัตว์จังหวัด) ในหัวข้อเรื่อง การจัดการแปลงหญ้าเพื่อขยายพื้นท่ีการปลูกหญ้า 3) การอบรม และศึกษาดูงาน ณ ฟาร์มแพะและกลุ่มนมแพะ จังหวัดกระบี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มอาชีพนมแพะ

สถานที่ ตําบลท่าสาป อําเภอเมือง จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ วันท่ี 23 กันยายน 2559

รายละเอียด

โครงการบริการวิชาการ การพัฒนาต้นแบบธุรกิจชุมชนตาบลท่าสาป : กลุ่มนมแพะ ได้รับ การอนุมัติให้ดำเนินโครงการโดยใช้งบประมาณแผ่นดิน จานวน 200,000 บาท มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ส่งเสริมให้กลุ่มมีความเข้มแข็งโดยเน้นการขยายพื้นท่ีปลูกหญ้าเพื่อเพิ่มปริมาณอาหารแพะ เพื่อ พัฒนากลุ่มอาชีพด้วยการบริหารจัดการกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมกลุ่มอาชีพให้มีการขยาย เครือข่ายในชุมชนเพิ่มมากข้ึน และเพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพให้สามารถเป็นแหล่งศึกษาดูงานแก่ชุมชน เพิ่มมากข้ึน ลักษณะของการให้บริการวิชาการเป็นแบบการอบรมปฏิบัติการ ด้วยการให้ความรู้ผ่าน การเสวนากลุ่ม และการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ มีกลุ่มเป้าหมาย คือ สมาชิกกลุ่มอาชีพนมแพะ ตาบลท่าสาป (กลุ่มเลี้ยงแพะ นายมะ อาแด) และคนในชุมชนท่ีมีพื้นท่ีอาศัยโดยรอบของสถานท่ีตั้ง กลุ่มเลี้ยงแพะ จานวน 40 คน โดยดาเนินการช่วงไตรมาสท่ี 1 – 3 ของปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ณ กลุ่มอาชีพนมแพะ ตาบลท่าสาป อาเภอเมือง จังหวัดยะลา โดยได้รับความอนุเคราะห์ ศูนย์วิจัยและ พัฒนาพันธ์แพะแกะ กลุ่มผู้เลี้ยงแพะนมจังหวัดนราธิวาส (กล่มกะฮ์ลา) และคณาจารย์จากสาขาสัตว ศาสตร์ ที่ทำให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาต้นแบบธุรกิจชุมชนตาบลท่าสาป กลุ่มนมแพะข้ึน และยังทำให้เกิดองค์ความรู้ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องในการดำเนินธุรกิจชุมชนฟาร์มแพะ นอกจากนี้การดาเนินกิจกรรมต่างๆ โดยภาพรวมแล้วมีผู้เข้าร่วมไม่ต่ากว่า 40 คน มีความพึงพอใจโดย เฉลี่ยร้อยละ 82.40 การประเมินผลในส่วนของตัวชี้วัดผลผลิต พบว่า กลุ่มอาชีพได้ขยายพื้นท่ีแปลง หญ้าจากเดิม 1 ไร่ เป็น 2 ไร่ คิดเป็นเพิ่มข้ึนร้อยละ 100 สมาชิก จานวนสมาชิกท่ีมีอยู่เดิม 20 ราย ได้รับความรู้ท้ังหมดทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 จำนวนสมาชิกใหม่เพิ่มข้ึน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 25 และกลุ่มอาชีพสามารถให้กลุ่มผู้เลี้ยงแพะนมจากจังหวัดนราธิวาส (กลุ่มกะฮ์ลา) ได้เข้ามาศึกษาดูงาน และเสวนากลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน จานวน 1 คร้ัง สาหรับตัวชี้วัดด้านผลลัพธ์ พบว่า กลุ่ม อาชีพมีความเข้มแข็งมากข้ึนในเรื่องของความรู้การจัดการแปลงหญ้าเพื่อให้แพะมีอาหารหยาบทานได้ ตลอดท้ังปี และมีแนวโน้มในการเพิ่มจานวนแพะให้มากข้ึน กลุ่มอาชีพมีความรู้ในเรื่องการจัดการกลุ่ม มากข้ึนในเรื่องของการจัดทาบัญชีฟาร์ม การใช้สื่อประชาสัมพันธ์ และการใช้ IT เพื่อจัดการฟาร์ม กลุ่มอาชีพได้มีการขยายเครือข่ายทั้งในส่วนของภาครัฐและกลุ่มอาชีพแพะนมในจังหวัดไกล้เคียงอย่าง นราธิวาส โดยสามารถท่ีจะเป็นแหล่งเรียนรู้ในด้านต่างๆ ให้กับผู้สนใจได้ไม่ว่าจะเป็นนักเรียน และ ผู้สนใจเลี้ยงแพะนมทั่วไป สาหรับปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนในการให้บริการวิชาการส่วนใหญ่เป็น ปัญหาเรื่องของการสื่อสารท่ีผู้เข้ารับบริการบางรายไม่สามารถเข้าใจภาษาไทยได้อย่างชัดเจนในบาง เรื่อง แต่ทางทีมบริการวิชาการได้จัดวิทยากรท่ีสามารถสื่อสารภาษายาวีได้ และให้นักศึกษาช่วยงาน ช่วยสื่อสารเพื่อลดข้อจากัดในเรื่องน้ีลง ปัญหาอีกอย่างท่ีเป็นทิศทางในการพัฒนากลุ่มท่ีสาคัญคือการ สร้างกลุ่มให้เข้มแข็งมากข้ึนด้วยการให้กลุ่มไปจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน และในปี พ.ศ. 2561 ทางทีมงานบริการวิชาการจะได้ดาเนินการวางระบบโครงสร้างและการบริหารจัดการให้มีความ เข้มแข็งต่อไป เพื่อให้กลุ่มอาชีพมีศักยภาพในการเป็นแหล่งศึกษาดูงานและแหล่งเรียนรู้ได้ในอนาคต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มอาชีพนมแพะ

สถานที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ วันท่ี 15 กันยายน 2560

รายละเอียด

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ได้จัดโครงการบริการวิชาการต่อเนื่องเป็น ประจำทุกปี เช่นเดียวกับในปีนี้ พ.ศ. 2561 ที่มีการจัดบริการวิชาการให้กับประชาชนในพื้นที่ ตำบล ท่าสาป อาเภอเมือง จังหวัดยะลา ภายใต้กิจกรรม “การพัฒนาต้นแบบธุรกิจชุมชนตาบลท่าสาป : กลุ่มนมแพะ ” ที่มีผู้รับผิดชอบหลักคือฝ่ายงานวิจัยและบริการวิชาการ โดยประโยชน์ที่จะได้รับในโครงการบริการวิชาการนี้จะช่วยให้คนในชุมชนมีความรู้ในการนำไปใช้ประกอบอาชีพและขยายธุรกิจ ชุมชน ของตนเองให้มีการเติบโตอย่างเข้มแข็งยั่งยืน รวมถึงคณาจารย์ที่ได้ร่วมโครงการยังได้ใช้ ศักยภาพในศาสตร์ที่ตนมีเพื่อรับใช้สังคมตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มอาชีพนมแพะ

สถานที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ 2561

รายละเอียด

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ได้รับผิดชอบในการสร้างความร่วมมือ เพื่อที่จะพัฒนาด้านต่าง ๆ ของเทศบาลตาบลธารน้าทิพย์จึงได้ทาการลงพื้นที่และศึกษา ในหลายมิติของพื้นที่ ซึ่งโครงการบนี้จะศึกษาทางด้านการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงและแนวทางใน การพัฒนาของชุมชนตาบลธารน้าทิพย์อาเภอเบตง จังหวัดยะลา เป็นกิจกรรมที่ 3 จากโครงการใหญ่ คณะผู้วิจัยได้ลงพื้นที่สารวจข้อมูลพื้นฐาน และสัมภาษณ์ผู้บริหารของ เทศบาลตาบลธารน้าทิพย์เพื่อ พูดคุยถึงแนวทางในการพัฒนาพื้นที่เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ พบว่าในเขตพื้นที่ เทศบาลตาบลธารน้า ทิพย์ มีทรัพยากรท่องเที่ยว เชิงนิเวศและแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่หลากหลาย เช่น ธารน้าตก มากมาย ป่าอันอุดมสมบูรณ์ ชายแดนที่ติดฝั่งมาเลเซีย ซึ่งมีลักษณะเฉพาะเป็นเนินผาสูง ทิวทัศน์ สวยงาม สามารถที่จะพัฒนาเพื่อรองรับการท่องเที่ยวได้ในอนาคต และรวมถึงการพัฒนาวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ในพื้นที่เพื่อที่จะยกระดับผลิตภัณฑ์ให้เป็นสินค้า OTOP อีกทั้งสามารถเป็นของฝากสาหรับ นักท่องเที่ยวที่จะเข้ามาเยือนในแต่ละฤดูกาลท่องเที่ยวในพื้นที่อาเภอเบตง จังหวัดยะลา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มผลิตภัณฑ์  ได้แก่  กะหรี่ปั๊บ  54  A  น้าพริกคั่วกาแป๊ะซาลัง  เครื่องแกงธารน้าทิพย์  จักสานกระจูด  แหนมเห็ด  ปลานิลแดด  เดียว  ปั้นสิบสายน้าไหล  บ๊ะจ่าง  ข้าวหลามบาซูก้า  ปลาส้มไต๋ต๋ง  ปลาจีนนึ่ง  ไก่สับกวาง  ใสส้มแขก  สามรสไต๋ต๋ง  และของที่ระลึกธารน้าทิพย์

สถานที่ หมู่บ้านธารนาทิพย์ อาเภอเบตง จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ 2562

รายละเอียด

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ได้รับผิดชอบในการสร้างความร่วมมือเพื่อที่จะพัฒนา ด้านต่างๆของเทศบาลตําบลธารน้ําทิพย์จึงได้ทําการลงพื้นที่และศึกษา ในหลายมิติของพื้นที่ ซึ่งรายงานบริการ วิชาการชิ้นนี้จะศึกษาทางด้านการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่เทศบาลตําบล ธารนํา้ทิย์อําเภอเบตงจังหวัดยะลาให้เป็นที่รู้จักแก่ประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวและเพื่อเป็นการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวและเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างรายได้ให้ประชาชนในพื้นที่ต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

สถานที่ท่องเที่ยวในเขตเทศบาลตําบลธารน้ําทิพย์

สถานที่ เทศบาลตําบลธารน้ําทิพย์ อําเภอเบตง จังหวัดยะลา

วันที่ดำเนินการ วันที่ 20 กันยายน 2562

รายละเอียด

กลุ่มเป้าหมาย

เยาวชน

สถานที่ ชุมชนบ่อน้ําพุร้อน บ้านนากอ ตําบลอัยเยอร์เวง

วันที่ดำเนินการ 2563

รายละเอียด

กลุ่มเป้าหมาย

เยาวชน

สถานที่ จ.ยะลา

วันที่ดำเนินการ 2564

รายละเอียด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนจุฬาภรณ์พัฒนา  9

สถานที่ จ.ยะลา

วันที่ดำเนินการ

รายละเอียด

การพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่น้ําผึ้งชันโรง สบู่สมุนไพรสี่สหาย สบู่เหลวน้ําผึ้งชันโรง

กลุ่มเป้าหมาย

วิสาหกิจชุมชนสบู่นํา้ผึ้งชันโรง

สถานที่ ต.บุดี จ.ยะลา

วันที่ดำเนินการ